หลักสูตร การบำรุงรักษาเชิงป้องกันและการบำรุงรักษาพยากรณ์

( Preventive maintenance&Predictive Maintenance) 

หลักการและเหตุผล (Introduction)

จากเป็นพื้นฐานที่มีการประยุกต์ใช้ในระบบ ISO 9001 ด้วย ส่วนของ ISO/TS16949 มีส่วนของข้อกำหนดที่เพิ่มเติมตามมาตรฐาน ข้อ 7.5.1.4 พูดถึงกิจกรรมอยู่ 2 ส่วนหลักคือ การบำรุงรักษาเชิงป้องกัน (Preventive maintenance) และ การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive maintenance) หรือ การบำรุงตามสภาพ (Condition-Based Maintenance) สำหรับการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน โรงงานหรือองค์กรส่วนใหญ่มีความคุ้นเคยกันอยู่แล้วเป็นอย่างดี ในเรื่องของ การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive maintenance) ได้ถูกกำหนดไว้ว่า “องค์กรต้องมีการใช้วิธีการบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ในการปรับปรุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพของอุปกรณ์ในการผลิต”

การบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ (Predictive maintenance) คือ “กิจกรรมที่อยู่บนพื้นฐานของข้อมูลจากกระบวนการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกันปัญหาในการบำรุงรักษาโดยการพยากรณ์ความน่าจะเป็นในการเกิดความล้มเหลว” นั่นหมายความว่าองค์กรต้องใช้ข้อมูลที่มีอยู่นำมาใช้พยากรณ์ว่าเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ที่เราใช้อยู่ในกระบวนการ น่าจะเกิดความล้มเหลว หรือมีอะไรน่าจะเสียได้บ้าง

การอบรมเชิงปฏิบัติการนี้ จึงเป็นคำตอบที่ดีขององค์กรที่ต้องการเพิ่มประสิทธิภาพของการผลิต ด้วยการเพิ่มความสามารถในการเดินเครื่องได้ตลอดเวลาของเครื่องจักรผ่านกิจกรรมการซ่อมบำรุง ที่ในระหว่างการอบรมจะมีแบบฝึกหัด ตัวอย่าง และการระดมสมองของผู้เข้าร่วมการอบรมเอง เพื่อให้เกิดความเข้าใจและสามารถนำไปใช้ได้จริงหลังการอบรมการปรับปรุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพของอุปกรณ์ในการผลิต”

นำไปใช้ได้จริงหลังการอบรม

วัตถุประสงค์  (Objective )

1.          เพื่อสร้างความเข้าใจต่อต้นทุนการผลิต และสร้างผลกำไรให้กับบริษัท

2.        เพื่อสร้างแนวคิดในการดำเนินกิจกรรมการบำรุงรักษาเชิงพยากรณ์ อย่างเป็นระบบ

3.       เพื่อสร้างแนวทางในการบำรุงรักษาเชิงทวีผลที่ทุกคนมีส่วนร่วมอย่างมีประสิทธิภาพ

4.        เพื่อเสริมสร้างแนวคิดการป้องกัน การวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาเครื่องจักร อย่างเป็นมีรูปแบบ

5.       เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนาหน่วยงาน และบริษัทอย่างต่อเนื่อง

6.       เพื่อให้ผู้เรียนมีโปรแกรมไว้ใช้งานได้จริง

รูปแบบการการอบรม (Methodology)

·          การบรรยาย  50 %

·          เกม / กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ Workshop และการนำเสนอผลงานกลุ่ม  30%

·          การแบ่งปันการเรียนรู้ร่วมกัน + การแข่งขันกระตุ้นผลงาน  20 %

วิทยากรบรรยาย (Lecturer)

·          อาจารย์ นันชัย อินทรอักษร

ระยะเวลาอบรม (Period)

·          1 วัน (6 ชั่วโมง)

เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)

เวลา

หัวข้อการฝึกอบรม

รายละเอียด

 

 

 

09.00–12.00 น.

·          องค์ประกอบของการผลิต ด้าน ต้นทุน กำไร และรายได้

·          บทบาทและความรับผิดชอบของพนักงานฝ่ายผลิตในสายงานซ่อมบำรุง

·          ความหมาย และความแตกต่างระบบ Preventive maintenanceและPredictive Maintenance

·          ความสูญเสียหลักทั้ง 6 ประการของเครื่องจักร

·          กลยุทธ์ในการดำเนินการ Preventive maintenance&Predictive Maintenance

 

 

 

 

 

วิทยากรบรรยาย

ผู้เข้าอบรมร่วมเสนอความคิดเห็น

กิจกรรม Workshop

12.00-13.00 น.

พักเบรก

 

 

 

13.0016.00 น.

·          การวางแผนงานซ่อมบำรุงแบบลงรายละเอียด

·          การวิเคราะห์เครื่องจักรเพื่อการกำหนดลักษณะการบำรุงรักษา

·          การวิเคราะห์เครื่องจักรเชิงพยากรณ์ ด้วยคลื่นเสียง

·          การวิเคราะห์เครื่องจักรเชิงพยากรณ์ ด้วยความสั่นสะเทือน

·          การวิเคราะห์เครื่องจักรเชิงพยากรณ์ ด้วยภาพถ่าย

·          การวิเคราะห์เครื่องจักรเชิงพยากรณ์ ด้วยสารหล่อลื่นที่ใช้แล้ว

·          การวิเคราะห์เครื่องจักรเชิงพยากรณ์ ด้วยการเก็บข้อมูลเพื่อนำมาวิเคราะห์

·          สรุป ตอบข้อซักถาม

 

หมายเหตุกำหนดการอบรมและรูปแบบการอบรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมของบริบทผู้เข้าอบรม

กำหนดการ  วันอาทิตย์ ที่ 19 มีนาคม 2568 เวลา 09.00-16.00 น.

สถานที่ โรงแรม แรมแบรนดท์ สุขุมวิท 18 BTS อโศก หรือ MRT สุขุมวิท กทม.

           **สถานที่อาจมีเปลี่ยนแปลง**

อัดตราค่าบริการอบรม ท่านละ   3,900 บาท

ลงทะเบียน 3 ท่านขึ้นไป ท่านละ   3,500 บาท

ลงทะเบียน 4 ท่านขึ้นไป ท่านละ   3,200 บาท

(ค่าบริการดังกล่าวยังไม่รวม VAT)

 

พร้อมรับใบประกาศนียบัตรในห้องอบรม
พร้อม อาหารว่าง อาหารกลางวัน เอกสารการอบรม และชุด Gift Set ของสถาบัน
 
 

Visitors: 25,249