หลักสูตร แนวทางปฏิบัฏิบัติและการประยุกต์กิจกรรม KIAZEN สมัยใหม่
(Practice and Implement for modern KIAZEN Activities)
หลักการและเหตุผล (Introduction)
การทำไคเซ็น ถือเป็นส่วนหนึ่งในหน้าที่ของพนักงานทุกคนที่จะได้มีส่วนร่วมในการปรับปรุงงาน ให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นโดของค์กรควรปลูกจิตสำนึก ให้กับพนักงานในการพัฒนาปรับปรุง การทำงานอย่างต่อเนื่อง โดยให้ความรู้และความเข้าใจและสร้างจิตสำนึกให้พนักงานทุกคน ทุกระดับเรียนรู้วิธีการตลอดจนเทคนิดการทำไคเซ็นในงานของตนซึ่งตั้งอยู่บนสมมติฐาน -ผู้ปฏิบัติงานหน้างานย่อมรู้งานของตนเองมากกว่าคนอื่นๆ-สอดคล้อง ตามข้อกำหนดในระบบบริหารจัดการที่บริษัทฯ ดำเนินการ เรื่อง การปรับปรุงอย่างต่อง โดยใช้เทคโนโลยี ปัจจุบันมาช่วยพัฒนาเพื่อดความซ้ำซ้อน ง่ายต่อการทำงาน และมีประสิทธิภาพมากขึ้น
วัตถุประสงค์ (Objective )
1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเข้าใจ ถึงแนวคิดและวิธีการประยุกต์การปรับปรุงงานอย่างต่อเนื่องด้วย ไคเซ็น
2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมทราบถึงแนวทางและขั้นตอนในการปรับปรุงงานและลดต้นทุนในการทำงาน
3. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมเกิดการพัฒนาและแก้ไขปรับปรุงกระบวนการทำงานอย่างถูกวิธี
4. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถปรับเปลี่ยนแนวคิดเพื่อปรับปรุงงานได้อย่างถูกต้อง
คุณสมบัติผู้เข้าอบรม (Target Participants)
· หัวหน้างาน พนักงาน และผู้ที่สนใจทั่วไป
รูปแบบการการอบรม (Methodology)
· การบรรยาย 50%
· กิจกรรมกลุ่ม / ฝึกปฏิบัติ และการนำเสนอผลงานกลุ่ม 40%
· กรณีศึกษา 10%
วิทยากรบรรยาย (Lecturer)
· อาจารย์ชาตรี วัชรมาศหาญ
ระยะเวลาอบรม (Period)
• 1 วัน (6 ชั่วโมง)
เนื้อหาการบรรยาย (Key Contents)
เวลา | หัวข้อการฝึกอบรม | รายละเอียด |
09.00–12.00 น. | · ประวัติความเป็นมาของกิจกรรมไคเซ็น · ความหมายของไคเซ็น · ขั้นตอนการและเครื่องมือปรับปรุงงาน · เทคนิคการมองปัญหา วิเคราะห์ปัญหา (Analytical Thinking) & Workshop |
วิทยากรบรรยาย ผู้เข้าอบรมร่วมเสนอความคิดเห็น กิจกรรม Workshop |
12.00–13.00 น. | พักเที่ยง | |
13.00–16.00 น. | · เครื่องมือสมัยใหม่ที่นำใช้เพื่อปรับปรุงการทำงาน · เทคนิคแก้ไขปัญหา วิธีการปรับปรุงงานและการเขียนรูปแบบ & & Workshop · กรณีศึกษา · Post-test |
หมายเหตุกำหนดการอบรมและรูปแบบการอบรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสมของบริบทผู้เข้าอบรม